Genome Analysis การตรวจวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรม

การตรวจวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรมด้วยวิถีแห่งการแพทย์แม่นยำ (Precision Medicine)

การรักษาทางการแพทย์ส่วนใหญ่ได้รับการออกแบบมาสำหรับ “ผู้ป่วยทั่วไป” โดยเป็นแนวทางเดียวซึ่งอาจประสบความสำเร็จสำหรับผู้ป่วยบางราย แต่ไม่ใช่สำหรับผู้ป่วยรายอื่น

“เป้าหมายของการแพทย์ที่มีความแม่นยำคือการกำหนดเป้าหมายการรักษาที่เหมาะสมไปยังผู้ป่วยที่เหมาะสมในเวลาที่เหมาะสม” Precision Medicine Initiative การแพทย์ที่มีความแม่นยำเป็น “แนวทางใหม่ในการรักษาและป้องกันโรคที่คำนึงถึงความแปรปรวนของยีนสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตของแต่ละคน” แนวทางนี้จะช่วยให้แพทย์และนักวิจัยสามารถคาดเดาได้แม่นยำยิ่งขึ้น ว่ากลยุทธ์การรักษาและการป้องกันโรคใดจะใช้ได้ผลกับคนกลุ่มใด ตรงกันข้ามกับแนวทางเดียวที่เหมาะกับทุกคนซึ่งมีการพัฒนากลยุทธ์การรักษาและป้องกันโรคสำหรับคนทั่วไปโดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล

DNA คืออะไร

Close Up Scientist using microscope in laboratory room while making medical testing and research

DNA (Dexoxy Ribonucleic Acid) เป็นสารพันธุกรรมอยู่ในส่วนองค์ประกอบย่อยของเซลล์เนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกาย เช่น เม็ดเลือดขาว ตัวอสุจิ กระดูก กล้ามเนื้อ เยื่อบุกระพุ้งแก้ม เป็นต้น

สารพันธุกรรม DNA จะพบได้ในองค์ประกอบย่อยของเซลล์ร่างกาย คือ ภายในนิวเคลียส (Nuclear DNA) ซึ่งเป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานของเซลล์ ซึ่งสาร DNA ที่พบในนิวเคลียสของเซลล์นี้ ครึ่งหนึ่ง (50%) จะได้รับการถ่ายทอดมาจากบิดา และอีกครึ่งหนึ่ง (50%) จะได้รับการถ่ายทอดมาจากมารดา โดยที่ DNA ในนิวเคลียสของเซลล์นี้จะได้ไม่ซ้ำกันในแต่ละคน

ตรวจDNA แล้วทราบอะไรบ้าง?

Closeup of scientist researcher doctor writing medical expertise on clipboard working at biochemistry experiment in microbiology hospital laboratory. Chemist man developing vaccine against covid19

โรคมะเร็งที่มีความสำคัญ  (CANCER)   13 ชนิด

ได้แก่ มะเร็งเต้านม, มะเร็งรังไข่, มะเร็งมดลูก, มะเร็งตับอ่อน,มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก, มะเร็งกระเพาะอาหาร, มะเร็งสมอง, มะเร็งเม็ดเลือด, มะเร็งระบบทางเดินปัสสาวะ, มะเร็งผิวหนังเฉพาะเม็ดสี, มะเร็งต่อมไทรอยด์, มะเร็งเนื้อเยื่อชาโคม่า, มะเร็งต่อมลูกหมาก

โรคหัวใจและหลอดเลือด (HEART DISEASE)   4 ชนิด

ได้แก่ กลุ่มโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ, กลุ่มหลอดเลือดแดงผิดปรกติ, กลุ่มโรคกล้ามเนื้อหัวใจผิดปรกติ, ภาวะคลอเลสเตอรอลในเส้นเลือดสูงที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม

โรคที่พบได้บ่อย  (COMMON DISEASE)  20 ชนิด

ได้แก่ โรคเบาหวานชนิดที่ 2, โรคความดันโลหิตสูง, โรคหลอดเลือดหัวใจ, ภาวะหัวใจห้องบนเต้นระริก, โรคหลอดเลือดสมอง, โรคอัลไซเมอร์, โรคพาร์กินสัน, โรคไมเกรน, โรคซึมเศร้า, โรคไขมันพอกตับที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากแอลกอฮอล์, โรคนิ่วในถุงน้ำดี, โรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง, โรคเกาต์, โรคข้อเสื่อม, โรคเอสแอลอี, โรคไตเรื้อรัง, โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้, โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง, โรคต้อหิน, โรคศูนย์กลางจอประสาทตาเสื่อม

โรคติดเชื้อ  (INFECTION) 16 ชนิด

ได้แก่ โรคคออักเสบ, โรคไข้อีดำอีแดง, โรคปอดอักเสบ, โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ, วัณโรค, โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ, โรคคางทูม, โรคงูสวัด, โรคไวรัสตับอักเสบชนิดบี, โรคไวรัสตับอักเสบชนิดซี, โรคเรื้อน, โรคเริมที่ปาก, โรคหูด, โรคการติดเชื้อในสตรี, โรคเอดส์, โรคโควิด 19 

การตอบสนองต่อยา  (DRUG & MEDICINE)

ได้แก่ ขนาดของยา, การย่อยและการเผาผลาญตัวยา, ประสิทธิภาพของยา, อาการไม่พึงประสงค์ต่อตัวยา

การวางแผนครอบครัว  (FAMILY PLANING)

โรคที่สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมสู่บุตร (โปรแกรมทางเลือกมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)

อาหารและสุขภาพ  (DIET)

ได้แก่ โรคอ้วน, ความไวต่อการบริโภคคาร์โบไฮเดรต, ความไวต่อการบริโภคไขมัน, ความไวต่อการบริโภคเกลือ, ความไวต่อการบริโภคแอลกอฮอล์, ความไวต่อการบริโภคกาแฟ, ความไวต่อรสขม, ความไวต่อรสหวาน, พฤติกรรมติดอาหารรสหวาน, ภาวะย่อยน้ำตาลแล็กโทสบกพร่อง, การแพ้กลูเตน, การแพ้ถั่ว, สารต้านอนุมูลอิสระ

ความต้องการสารอาหารวิตามิน

A , B2 , B6 , B12 , C , D , E , แคลเซียม, โฟเลต, ไอโอดีน, ธาตุเหล็ก, แมกเนเซียม, โอเมก้า3, ฟอสฟอรัส, ซีลีเนียม, สังกะสี

การออกกำลังกายและสมรรถนะของร่างกาย  (SPORT & FITNESS)

ได้แก่ ความฟิตและความทนทานในการออกกำลังกาย, ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ, ความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บจากการออกกำลังกาย, ความยืดหยุ่น, การลดน้ำหนักและภาวะน้ำหนักเกิน, ความสามารถในการออกกำลังกาย, ประสิทธิภาพในการฟื้นตัว, ผลของการออกกำลังกายต่อความดันโลหิต, ผลของการออกกำลังกายต่อฮอร์โมนอินซูลิน, ผลของการออกกำลังกายต่อ HDL

ผิวพรรณและความงาม  (SKIN & BEAUTY)

ได้แก่ ริ้วรอยย่น, ความไวของผิวต่อแสงแดด, กระ, กระแดด, ผิวแตกลาย, เซลลูไลท์, แผลเป็นคีลอยด์, การตอบสนองต่ออนุมูลอิสระ, ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง, ผื่นผิวหนังจากการสัมผัส, ผื่นผิวหนังจากการสัมผัส, ผิวแห้งขาดน้ำ, โรคสะเก็ดเงิน, ภาวะผมบางจากพันธุกรรม

ภาวะไวต่อมลภาวะ  (POLUTION)

ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือดที่กระตุ้นโดยมลภาวะ, โรคหอบหืดที่กระตุ้นโดยมลภาวะ, ความไวต่อการได้รับบุหรี่ทางอ้อม

ความเครียดและการนอนหลับ  (STRESS & SLEEP)

ได้แก่ การรับมือต่อความเครียด, โรคไฟโบรมัยอัลเจีย, โรคสายตาสั้น, อาการนอนไม่หลับ, ความไวต่อคาเฟอีนที่มีผลต่อการนอนหลับ

สุขภาวะทางเพศ  (LOVE & RELATIONSHIP)

ได้แก่ ภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศในผู้ชาย, การตอบสนองต่อยาไวอากร้า, หมัน และภาวะที่ไม่มีตัวอสุจิ, ต่อมลูกหมากโต, โพรงบุเยื่อมดลูกเจริญผิดที่, ภาวะ PCOS, ภาวะหมดระดูก่อนวัย

Message us